How to บริหารสุขภาพจิตในช่วงวิกฤต COVID-19
เมื่อสถาณการณ์ covid19 ยังมีอยู่รอบตัว เเละหลายๆ คนอาจติดตามข่าวกันตลอดเวลาทำให้จิตใจเเย่ได้ ดังนั้นเพื่อนชุมชนเลยมี How to บริหารสุขภาพจิตในช่วงวิกฤต COVID-19 มาฝากทุกๆ คนครับ
เมื่อสถาณการณ์ covid19 ยังมีอยู่รอบตัว เเละหลายๆ คนอาจติดตามข่าวกันตลอดเวลาทำให้จิตใจเเย่ได้ ดังนั้นเพื่อนชุมชนเลยมี How to บริหารสุขภาพจิตในช่วงวิกฤต COVID-19 มาฝากทุกๆ คนครับ
มาเช็คให้ชัวร์ก่อน ว่าเราเป็น #หวัด หรือ #ติดเชื้อโอมิครอน กันเเน่? สำหรับบางคนแล้ว การติดเชื้อโรคโควิด-19 อาจไม่ต่างจาก "เป็นไข้หวัดอย่างหนัก" คือมีอาการปวดศีรษะ เจ็บคอ และน้ำมูกไหลร่วมด้วย ช่วงนี้ถ้ารู้สึกไม่สบาย ลองสังเกตอาการกันดีๆ เพื่อตัวเองและคนรอบข้าง ยอดติดเชื้อยังน่าห่วง ต้องป้องกันตัวเองให้เต็มที่นะครับ
โรคกระเพาะอาหารอักเสบ หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า #โรคกระเพาะ เป็นโรคที่เกิดในระบบทางเดินอาหารที่พบได้บ่อยในปัจจุบัน ซึ่งเกิดจากพฤติกรรมที่เร่งรีบของคนในยุคนี้ ทำให้มีพฤติกรรมการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง ถือเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้คนเป็น #โรคกระเพาะอาหาร
นอกจากอาการเหนื่อยง่ายและเจ็บหน้าอกแล้ว #อาการไอ เป็นอาการแสดงอีกอย่างหนึ่งที่บ่งบอกว่า ผู้ป่วยกำลังเป็นโรคระบบทางเดินหายใจ อาการไอเป็นอาการของโรคที่พบบ่อยที่สุด
การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 ไม่เพียงส่งผลกระทบเชิงกายภาพเท่านั้น แต่ยังรวมถึงสภาพจิตใจที่ต้องคอยรับแรงกดดันมากมายจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอีกด้วย จึงไม่แปลกที่หลายคนจะเกิดความเครียดหรือความวิตกกังวลต่อสถานการณ์ดังกล่าว
เมื่อ #ไขมัน ในเลือดผิดปกติ เราจะควบคุมมันอย่างไรดี? วันนี้ #เพื่อนชุมชน มีคำตอบ
“พาราเซตามอล” ยาสามัญประจำบ้านที่หลายคนคุ้นเคยเป็นอย่างดี หลายบ้านยังมีติดไว้เพื่อใช้ในการลดไข้และบรรเทาอาการปวดในชีวิตประจำวัน ถือเป็นยาที่เข้าถึงได้ง่ายและจัดเป็นยาที่ไม่อันตราย แต่ในขณะเดียวกัน หากมีการใช้ยาไม่ถูกต้องอาจทำให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน
มาดูเเลสุขภาพให้ห่างไกล #มะเร็งปอด กันเถอะครับ โรคยอดฮิตไม่อยากเป็นตอนชรา เลี่ยงได้ เลี่ยง! ตั้งเเต่ต้น ดีกว่าปอดถูกทำลายเเล้วค่อยหันมาดูเเลนะครับ ด้วยความปรารถดีจาก #เพื่อนชุมชน
มาป้องกันโควิด 19 โดยยึดหลัก D-M-H-T-T กัน!! DMHTT ย่อมาจากอะไร? วันนี้เพื่อนชุมชนมีคำตอบ
วันที่ 11 มกราคม 2565 กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข เผยแพร่คำแนะนำสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด-19 ที่กักตัวที่บ้าน รวมทั้งหมด 12 ข้อ ดังนี้